ฉิ่ง ๒ หมายถึง ว. เก, เฉ, ไม่ตรง, (ใช้แก่แขนขา) เช่น ขาฉิ่ง แขนฉิ่ง.
ก. ติ, ติเตียน, เช่น สามสิ่งนี้โหดให้ โทษแท้คนฉิน. (โลกนิติ), มักใช้เข้าคู่กับคํา ติ เป็น ติฉิน.
(กลอน) ว. ฉัน, เช่น, คล้าย, เหมือน, เช่น ทิพฉายฉวงฉินฉัตร ใบชรอัดอรชร. (ม. คำหลวง วนประเวสน์).
ว. ฉัน, มีแสงกล้า, มีแสงที่พุ่งออกไป; งาม, มักใช้เข้าคู่กับคํา โฉม เป็นฉินโฉม หรือโฉมฉิน เช่น ฉินโฉมเฉกช่างวาด. (ม. คําหลวง ทานกัณฑ์).
[ฉินทะ-] (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทําลาย. (ป., ส.).
[ฉินทะ-] (แบบ) ก. ตัด, ขาด, ทําลาย. (ป., ส.).
[ฉินทะเริก] น. ฤกษ์ตัดจุก.
ว. อาการที่หายไปหรือจากไปเร็วเกินคาด.