จุรณ, จูรณ หมายถึง [จุน, จูน] น. ของที่ป่น, ของที่ละเอียด, ผง, เช่น แหลกเป็นจุรณ, โบราณเขียนเป็น จุณ ก็มี. (ส. จูรฺณ; ป. จุณฺณ).
[จุน, จูน] น. ของที่ป่น, ของที่ละเอียด, ผง, เช่น แหลกเป็นจุรณ, โบราณเขียนเป็น จุณ ก็มี. (ส. จูรฺณ; ป. จุณฺณ).
[จุนมะหาจุน, จุนวิจุน] น. ของที่แหลกละเอียดมาก เช่น แหลกเป็นจุรณมหาจุรณ แหลกเป็นจุรณวิจุรณ, โบราณเขียนเป็น จุณมหาจุณหรือ จุณวิจุณ ก็มี.
[จุนมะหาจุน, จุนวิจุน] น. ของที่แหลกละเอียดมาก เช่น แหลกเป็นจุรณมหาจุรณ แหลกเป็นจุรณวิจุรณ, โบราณเขียนเป็น จุณมหาจุณหรือ จุณวิจุณ ก็มี.
(กลอน) น. มีด, หอก, ดาบ. (ข. จรี ว่า มีด, หอก, ดาบ).
น. ไรจุก, ไรผม, (ราชา) พระจุไร.
[จุนละ-] ว. เล็ก, น้อย, (มักใช้นําหน้าคําสมาส) เช่น จุลศักราช จุลพน.(ป. จุลฺล).
น. เรียกพิธีทอดกฐินที่ต้องทําตั้งแต่ปั่นฝ้าย ทอ เย็บ ย้อมผ้ากฐินและถวายสงฆ์ให้เสร็จในวันเดียว, โดยปริยายหมายความว่า งานที่ต้องทําอย่างชุลมุนวุ่นวายเพื่อให้เสร็จทันเวลาอันจํากัด.