จึง, จึ่ง หมายถึง สัน. สําหรับต่อความแสดงกิริยาที่กระทําภายหลัง เช่น กินข้าวแล้วจึงไป, แสดงความที่เป็นผลเนื่องจากเหตุข้างหน้า เช่น ทําดีจึงได้ดี.
น. เหล็กสําหรับไชรูอย่างหนึ่ง เช่น เกะกะกบไสไชเหล็กจึ้ง.(ขุนช้างขุนแผน). (ดิกชนารีไทย). (จ. จึ่ง ว่า เจาะ).
ว. มีรสไม่เค็มไม่เปรี้ยวเป็นต้น เช่น นํ้าจืด ไข่จืด; ไม่เข้ม เช่น หน้าจืด,ไม่ฝาด เช่น หมากจืด, ไม่ฉุน เช่น ยาจืด; ไม่สนุก, ไม่ครึกครื้น, เช่นงานนี้จืด; หมด เช่น อันสมรรถมือผจญ จืดเสี้ยน. (ตะเลงพ่าย).
ก. คลายลง, เหินห่าง, เช่น ความสัมพันธ์จืดจาง.
ว. ไม่มีรสชาติ, ไม่สนุก, เช่น งานเลี้ยงจืดชืด.
ว. ไม่เข้ม, ไม่เด่น, เบื่อเพราะชินตา.
ว. อย่างเต็มตื้น.
ก. มีขนาด ปริมาณ หรือจํานวนบรรจุ เช่น ขวดใบนี้จุน้ำได้ ๑ ลิตรลิฟต์นี้จุคนได้ ๑๐ คน. ว. มาก เช่น กินจุ.