จ๋อย ๓, จ๋อย ๆ หมายถึง ว. คล่อง, ไม่หยุดปาก, เช่น พูดจ๋อย พูดจ๋อย ๆ.
ดู ชาด.
คำกร่อนของคำหน้าซึ่งซ้ำกับคำหลังในคำที่มี จ เป็นพยัญชนะต้นในบทกลอน เช่น แจ้งแจ้ง กร่อนเป็น จะแจ้ง แจ่มแจ่ม กร่อนเป็น จะแจ่มมีคำแปลอย่างเดียวกับคำเดิมนั้น และมีความหมายในทางย้ำหรือเน้น.
เป็นคําช่วยกริยาบอกอนาคต เช่น จะไป จะอยู่.
ว. คํารับ (ใช้เป็นสามัญทั่วไป).
ว. คําต่อท้ายคําเชิญชวนหลังคำ 'นะ' หรือ 'ซิ' เช่น ไปนะจ๊ะ เชิญซิจ๊ะหรือต่อท้ายคำถามเป็นต้น เช่น อะไรจ๊ะ.
ก. เจอกันหรือพ้องกันโดยบังเอิญ เช่น เดินมาจ๊ะกัน แกงจ๊ะกัน.
น. ชื่อการเล่นชนิดหนึ่งที่ผู้หนึ่งโผล่หน้าหรือเปิดหน้าแล้วพูดว่า 'จ๊ะเอ๋'กับอีกผู้หนึ่งซึ่งมักเป็นเด็ก.