ค้นหาคำศัพท์แบบเร่งด่วน


 

  • ความหมายของคำว่า ' จริยศาสตร์ '

    จริยศาสตร์  หมายถึง น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดีควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. (อ. ethics).

advertisement

 

คำที่ใกล้เคียงกัน

  • จริยศึกษา

    น. การศึกษาเกี่ยวกับความเจริญงอกงามในทางความประพฤติและการปฏิบัติตน เพื่อให้อยู่ในแนวทางของศีลธรรมและวัฒนธรรม.(อ. moral education).

  • จริยา

    [จะ-] น. ความประพฤติ, กิริยาที่ควรประพฤติ, ใช้ในคําสมาส เช่นธรรมจริยา.

  • จริยาปิฎก

    น. ชื่อคัมภีร์ที่ว่าด้วยการบําเพ็ญบารมีของพระพุทธเจ้าในชาติที่ล่วงแล้วรวมอยู่ในขุทกนิกายแห่งสุตตันตปิฎก.

  • จริว ๑

    [จะ-] น. เต่า; ตะพาบนํ้า; เช่น จริวจราวจรัลชลจรมกรกรรกฏกูรม์(สมุทรโฆษ); กริว หรือ ตริว ก็ว่า.

  • จริว ๒

    [จะ-] (กลอน) ว. เกรียว.

  • จรี

    [จะ-] (กลอน) น. มีด, หอก, ดาบ, เช่น บัดออกกลางสนามสองราสองแขงขันหาก็กุมจรีแกว่งไกว. (สมุทรโฆษ). (ข.).

  • จรึง

    [จะ-] (กลอน) ก. กรึง, ตรึง, เช่น เทียบที่ถมอก่อภูเพียง บรรพตจรึงเรียง.(ดุษฎีสังเวย).

 


พจนานุกรมไทย-ไทย ออนไลน์

จุดประสงค์ของเว็บ เพื่อสนับสนุนการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามความหมายของแต่ละคำ ขอบคุณข้อมูลจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒