อมทุกข์ หมายถึง ว. มีความทุกข์สุมอยู่ เช่น หน้าตาอมทุกข์.
(โบ) ก. หุบปากไว้, ไม่ยอมพูดในสิ่งที่ควรพูด, หุบปากหุบคํา ก็ว่า.
(สำ) ใช้ในการพูดโดยอ้างพระหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์มาประกอบเป็นพยาน มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ต่อให้อมพระมาพูดก็ไม่เชื่อ.
ว. นิ่งอึ้งไม่พูดจา, อําพะนํา ก็ว่า.
[เพฺลิง] น. เรียกไม้เสาที่มีเปลือกและกระพี้เป็นชั้น ๆ ว่า เสาอมเพลิงถือว่าเป็นเสาไม่ดี.
[พูม] ก. ไม่ยอมแสดงความรู้ทั้ง ๆ ที่มีความรู้ บางทีใช้หมายถึงทำท่าทางคล้าย ๆ รู้ แต่ความจริงไม่รู้ เช่น ทำเป็นอมภูมิ.
ว. ไม่เดียงสา (ใช้แก่เด็ก) ในคําว่า เด็กอมมือ.
ว. ยิ้มน้อย ๆ โดยไม่เผยอริมฝีปาก. น. ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยน้ำตาล มีสีต่าง ๆ เป็นรูปกลม ๆ หรือแบน ๆ เสียบไม้.