อายัต หมายถึง พูดกับคฤหัสถ์, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. (ส. อาตฺมภาว, อาตฺมา).น. อัตตาหรือดวงวิญญาณ ซึ่งศาสนาและปรัชญาฮินดูถือว่าเที่ยงแท้ถาวร. (ส.).ดูใน อาตม.น. ตัวเอง เช่น ไม่พอเลี้ยงอาตมา. (ส.).ว. อาดุระ, อาดูร. (ป., ส. อาตุร).[ถัน, ถัน, ถับพะนะ] น. สิ่งสืบเนื่องจากคัมภีร์อถรรพเวท, การทําพิธีตามตำราไสยศาสตร์เพื่อให้เกิดสิริมงคลป้องกันภยันตราย หรือทำอันตรายผู้อื่น เช่น ทําพิธีฝังเสาหินหรือฝังบัตรพลี ซึ่งเรียกว่าฝังอาถรรพ์; อํานาจลึกลับที่เชื่อกันว่าอาจบันดาลให้มีอันเป็นไปเช่น ต้องอาถรรพ์ เสานี้มีอาถรรพ์. (ส. อาถรฺวณ; ป. อาถพฺพณ).[ทอน] น. ความเอื้อเฟื้อ, ความเอาใจใส่, ความห่วงใย. (ป., ส.).น. ผู้ถือเอา, ผู้รับ. (ป.; ส. อาทาตฺฤ).น. การถือเอา, การรับ, การยึดถือ, มักใช้เป็นส่วนท้ายศัพท์ เช่นอุปาทาน สมาทาน. (ป., ส.).น. ต้น ในคําว่า เป็นอาทิ, เป็นเบื้องต้น, ทีแรก, ข้อต้น. (ป., ส.).น. วันอาทิตย์, สูรยวาร หรือ อาทิตยวาร ก็ว่า.[ทิดตะยะ, ทิด] น. 'เชื้ออทิติ' คือ เทวดาพวกหนึ่งซึ่งเป็นลูกนางอทิติผู้เป็นชายาพระกัศยปประชาบดี เทวดาพวกนี้มีจํานวนกล่าวไว้ต่างกัน บ้างว่ามี ๕ องค์ บ้างว่ามี ๗ องค์ บ้างว่ามี ๑๒ องค์ ได้แก่อินทราทิตย์ (พระอินทร์) วรุณาทิตย์ (พระพิรุณ) ฯลฯ สูรยาทิตย์(พระอาทิตย์ที่ส่องโลก); ชื่อเทวดาพระเคราะห์ คือ สูรยาทิตย์;ดวงตะวัน (ชื่อเทวดาองค์หนึ่งในนิยาย), ในตํารานพเคราะห์นับเอาเป็นดาวพระเคราะห์ที่ ๑; ชื่อวันที่ ๑ ของสัปดาห์; รอบ ๗ วันเช่น ไม่ว่างตลอดอาทิตย์. (ส.; ป. อาทิจฺจ).น. ดวงอาทิตย์, รูปที่แลดูแบนแห่งดวงอาทิตย์.น. วันอาทิตย์, สูรยวาร หรือ อาทิจจวาร ก็ว่า.[นบ, นะวะ] น. โทษ (บางทีใช้ควบกันว่า อาทีนพโทษ หรืออาทีนวโทษ); ผลร้าย, บางทีใช้เป็นส่วนท้ายของคำสมาสเช่น กามาทีนพ = โทษของกาม. (ป., ส.).ว. เป็นที่ต้น, ก่อน, แรก, เบื้องต้น. (ป. อาทิก).[เทด] น. การแนะนํา, คําชี้แจง, คําบอกเล่า, คําสั่ง, กฎ.(ส.; ป. อาเทส).[เทด] น. การแปลงหรือแผลงพยัญชนะและสระตามข้อบังคับแห่งไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สมบัติ + อภิบาล อาเทศสระอิ ที่ ติ เป็น ย แล้วสนธิกับ อภิบาล เป็น สมบัตยาภิบาล,ธนุ + อาคม อาเทศ สระอุ ที่ นุ เป็น ว แล้วสนธิกับ อาคม เป็นธันวาคม, อธิ + อาสัย อาเทศอธิ เป็น อัชฌ แล้วสนธิกับ อาสัยเป็น อัชฌาสัย. (ส.; ป. อาเทส).น. การดักใจเป็นอัศจรรย์ หมายถึง การดักใจทายใจคนได้อย่างน่าอัศจรรย์, เป็นปาฏิหาริย์อย่าง ๑ ในปาฏิหาริย์ ๓ ได้แก่ อิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ และอนุสาสนีปาฏิหาริย์.[ทํา, ทัน, ทันมิก, ทันมึก] ว. ชั่ว, ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม,ไม่ยุติธรรม. (ส. อาธรฺมิก; ป. อธมฺมิก).[ทาน] น. การตั้งไว้, การวางไว้, มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาสเช่น จิตกาธาน. (ส.).[ทาน] น. เครื่องคํ้าจุน, ฐานที่รองรับ, เช่น ปัตตาธาร = เชิงบาตร,ตีนบาตร คุณาธาร = ฐานที่รองรับคุณความดี; การอุปถัมภ์; อ่าง,หม้อนํ้า, ที่ขังนํ้า, สระ. (ป., ส.).น. เครื่องรองนั่งบนหลังสัตว์พาหนะหรือยานพาหนะบางชนิด เช่นอานม้า อานรถจักรยาน.ว. บอบชํ้า เช่น ถูกตีเสียอาน, โดยปริยายหมายความว่า อย่างหนัก,อย่างมาก, เช่น ถูกต่อว่าอานเลย.ก. ลับมีดหรืออาวุธให้คม เช่น อานดาบ อานอาวุธ, ใช้มีดหรืออาวุธถูกับหินให้เรียบหรือให้คม เช่น อานมีด อานหอก. (ข.).ก. กิน, เซ่น, เช่น เครื่องอาน ว่า เครื่องกินหรือเครื่องเซ่น.(ถิ่นปักษ์ใต้) ว. เป็นหมัน, ไม่มีลูก, (ใช้เฉพาะสัตว์).[อานะ] น. ลมหายใจเข้า, นิยมใช้เข้าคู่กับ อปานะ คือ ลมหายใจออก เป็น อานาปานะ = ลมหายใจเข้าและลมหายใจออก ในคําว่าอานาปานัสสติ = สติที่กําหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก.(ป., ส.).ก. ว่าตามตัวหนังสือ, ถ้าออกเสียงด้วย เรียกว่า อ่านออกเสียง, ถ้าไม่ต้องออกเสียง เรียกว่า อ่านในใจ; สังเกตหรือพิจารณาดูเพื่อให้เข้าใจ เช่น อ่านสีหน้า อ่านริมฝีปาก อ่านใจ; ตีความ เช่น อ่านรหัสอ่านลายแทง; คิด, นับ. (ไทยเดิม).ก. อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน เช่น เอาหนังสือไปอ่านเล่นสัก ๒ เล่มซิ. ว. ที่แต่งขึ้นให้อ่านเพื่อความเพลิดเพลิน ในคำว่า หนังสืออ่านเล่น.ก. ประกาศในพิธีพราหมณ์เพื่อสรรเสริญและอัญเชิญเทพเจ้า.[นก, นิก] ก. เอ็นดู, รักใคร่. (ข. อาณิต).น. ปาก, หน้า; ช่อง, ประตู. (ป., ส.).น. ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความปลื้มใจ, มักใช้เป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น จิตกานนท์. (ป., ส.).น. ชื่อปลาใหญ่ในวรรณคดี เชื่อกันว่าหนุนแผ่นดิน เมื่อปลานี้พลิกตัวทำให้เกิดแผ่นดินไหว, อนนต์ ก็ว่า.ดู แฉลบ ๓.น. ลูก, น้อง, (ใช้เป็นคำเรียกแสดงความรู้สึกรักและเอ็นดู), อะนะหรือ อะหนะ ก็ว่า. [ช. anak ว่า ลูก (ใช้ได้ทั้งลูกคนและลูกสัตว์)].น. การรื่นเริง, การทําให้เพลิดเพลิน. (ป., ส.).น. ญวน, ใช้ว่า อนํา อนัม หรือ อานํา ก็มี.[นะ] น. ลมหายใจเข้าออก ในคําว่า อานาปานัสสติ. (ป., ส.).[นัดสะติ] น. สติที่กําหนดลมหายใจเข้าและลมหายใจออก.ดู อานาปาน, อานาปานะ.น. ญวน, ใช้ว่า อนํา อนัม หรือ อานัม ก็มี.น. ผลแห่งกุศลกรรม, ผลบุญ; ประโยชน์ เช่น อานิสงส์กฐิน.(ป. อานิสํส; ส. อานฺฤศํส, อานุศํส).น. อํานาจ, ฤทธิ์เดช, ความยิ่งใหญ่. (ป., ส.).ก. เอานํ้ารดตัวหรือลงในนํ้าทั้งตัว เพื่อแก้ร้อนหรือชําระล้างเหงื่อไคลเป็นต้น เรียกว่า อาบนํ้า; ชโลม, ทา, ทําให้ซึมซาบ,เช่น อาบนํ้ารัก ลูกศรอาบยาพิษ; ไหลโซม เช่น เหงื่ออาบหน้า.ก. ให้ผิวกายส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดถูกแดด เพื่อสุขภาพหรือความงาม.(สํา) ก. เกิดก่อนจึงมีประสบการณ์มากกว่า.ก. ตรากตรําทํางานด้วยความเหนื่อยยาก.ก. อาบทั่วไป, ซึมซาบ; ซาบซ่าน, เอิบอาบ ก็ว่า.น. โทษที่เกิดจากการล่วงละเมิดสิกขาบทหรือข้อห้ามแห่งภิกษุมีโทษ ๓ สถาน คือ ๑. โทษสถานหนัก เรียกว่า ครุโทษ หรือมหันตโทษ ทําให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติขาดจากความเป็นภิกษุ ได้แก่อาบัติปาราชิก ซึ่งเรียกว่า ครุกาบัติ ๒. โทษสถานกลาง เรียกว่ามัชฌิมโทษ ทําให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติต้องอยู่กรรมก่อนจึงจะพ้นโทษได้แก่ อาบัติสังฆาทิเสส และ ๓. โทษสถานเบา เรียกว่า ลหุโทษทําให้ภิกษุผู้ต้องอาบัติที่ตํ่ากว่าอาบัติสังฆาทิเสสต้องปลงอาบัติคือ บอกอาบัติของตนแก่ภิกษุด้วยกัน ได้แก่ อาบัติถุลลัจจัยปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฏ และทุพภาษิต ซึ่งเรียกว่า ลหุกาบัติ.(ป., ส. อาปตฺติ).ก. ต้อง เช่น อาบัติอาบัน ว่า ต้องอาบัติ; ถึง, ลุ, เช่น โสดาบัน ว่าถึงโสตธรรม คือ กระแสพระนิพพาน. (ป., ส. อาปนฺน).[ปะนะ] น. ตลาด, ร้านขายของ. (ป., ส.).[นะกะ] น. พ่อค้า. (ป.).น. นํ้า, เมื่อใช้เป็นส่วนหน้าของสมาสมักใช้ว่า อาโป เช่นอาโปกสิณ อาโปธาตุ.[กะสิน] น. วิธีเจริญสมถกรรมฐานโดยยึดหน่วงเอาธาตุนํ้าเป็นอารมณ์.น. ของเหลวที่เอิบอาบซาบซึมไปได้ นับเป็นธาตุ ๑ ในธาตุทั้ง ๔ คือ ๑. ปฐวีธาตุ = ธาตุดิน ๒. อาโปธาตุ = ธาตุนํ้า๓. เตโชธาตุ = ธาตุไฟ ๔. วาโยธาตุ = ธาตุลม. (ป., ส.).[นะ] น. การดื่ม, การเลี้ยง. (ป., ส.).[นะพูม] น. ห้องดื่ม, สถานที่เลี้ยงดูกัน. (ส.).น. ห้องเครื่องดื่ม. (ส.).ก. เสกเหล้ากินเพื่อให้คงกระพัน เรียกว่า อาพัดเหล้า.ก. ผูกพัน, ติดพัน, เกี่ยวพัน. (ป., ส.).น. เครื่องผูก, การผูก. (ป., ส.).[พาด] ก. เจ็บป่วย (ใช้แก่ภิกษุสามเณร). (ป., ส.).ว. เป็นไข้, เจ็บป่วย, เป็นโรค. (ป., ส.).ดู อาพาธ.[พิน] ว. ขุ่นมัว, เศร้าหมอง. (ป., ส. อาวิล).[เพด] น. เหตุที่เกิดขึ้นอย่างผิดปรกติวิสัย ถือว่าเป็นลางไม่ดี.(อาจมาจาก ส. อาเวศ).[พอน] น. เครื่องประดับ, บางทีก็ใช้เป็นส่วนท้ายของคําสมาสเช่น พัสตราภรณ์ = เครื่องประดับคือเสื้อผ้า สิราภรณ์ = เครื่องประดับศีรษะ คชาภรณ์ = เครื่องประดับช้าง พิมพาภรณ์ =เครื่องประดับร่างกาย ในคําว่า ถนิมพิมพาภรณ์ ธรรมาภรณ์ =มีธรรมะเป็นเครื่องประดับ. (ป., ส.).[พับ] ว. ปราศจากโชค, เคราะห์ร้าย, วาสนาน้อย, ตกอับ.(ป. อภพฺพ ว่า ไม่สมควร).(สำ) ทำดีแต่มักถูกมองข้ามไปหรือไม่มีใครมองเห็น คล้ายในการกินหมาก จะต้องมีหมาก พลู ปูน ๓ อย่างประกอบกัน แต่คนมักพูดว่า กินหมากกินพลู โดยมิได้พูดถึงปูนเลย จะพูดถึงบ้างก็เป็นไปในทางที่ไม่ดีว่า ปูนกัดปาก.[พัดสะระ] น. ชื่อพรหมโลกชั้น ๑ ในรูปพรหม ๑๖ ชั้น, เรียกพรหมซึ่งอยู่ชั้นนี้ว่า อาภัสรพรหม. ว. สว่าง, สุกใส, เปล่งปลั่ง.(ป. อาภสฺสร).น. แสง, รัศมี, ความสว่าง. (ป., ส.).น. พระอาทิตย์. (ป., ส.).[พาด] น. รัศมี, แสงสว่าง. (ป., ส.).ว. ไม่ เช่น เลี้ยงลาอามสาย, หนึ่งจงเลี้ยงม่ามอ่ามสาย. (ไตรภูมิ).(ไทยใหญ่ อํ่า ว่า ไม่).(โบ) น. เรียกลูกสาวคนที่ ๓ ว่า ลูกอาม.[มะละกะ] น. มะขามป้อม. (ป., ส.).น. ความป่วยไข้, โรค, ความไม่สบาย, ตรงข้ามกับ อนามัย คือความสบาย ความไม่มีโรค. (ป., ส.).[อามิด, อามิดสะ] น. สิ่งของวัตถุเครื่องล่อใจมีเงินเป็นต้น, เช่นอย่าเห็นแก่อามิสสินจ้าง. (ส. อามิษ; ป. อามิส).น. การบูชาด้วยสิ่งของ, คู่กับ ปฏิบัติบูชา ซึ่งเป็นการบูชาด้วยการปฏิบัติตามคำสั่งสอน.ก. รู้สึกกระดาก, รู้สึกขายหน้า.[เหฺนียม] ก. กระดากอาย.น. กลิ่น, มักใช้เข้าคู่กับคํา กลิ่น เป็น กลิ่นอาย.(โบ) น. เรียกลูกชายคนที่ ๑ ว่า ลูกอ้าย. (สามดวง); โดยปริยายอนุโลมเรียกพี่ชายคนโตว่า พี่อ้าย. ว. ต้น, หนึ่ง, ในคำว่า เดือนอ้าย.น. คําประกอบคําอื่นบอกให้รู้ว่าเป็นเพศชายหรือสัตว์ตัวผู้ เช่นอ้ายหนุ่ม อ้ายด่าง, คําประกอบหน้าชื่อผู้ชายที่มีฐานะตํ่ากว่าอย่างนายเรียกคนใช้, คําประกอบหน้าชื่อเพื่อนฝูงแสดงว่ามีความสนิทสนมมาก มักใช้กันในหมู่เด็กผู้ชาย, คําใช้ประกอบหน้าชื่อผู้ชายแสดงความดูหมิ่นเหยียดหยาม, คําประกอบคําบางคําที่ผู้ใหญ่ใช้เรียกเด็กผู้ชายหรือผู้ชายที่อายุน้อยกว่ามากด้วยความเอ็นดูหรือสนิทสนมเป็นกันเอง เช่น อ้ายหนู อ้ายน้องชาย, คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้น เช่น อ้ายเราก็ไม่ดีอ้ายจะไปก็ไม่มีที่จะไป อ้ายจะอยู่หรือก็คับใจ, คำประกอบหน้าชื่อสัตว์บางชนิดโดยไม่เน้นเพศ เช่น อ้ายเหลือม อ้ายทุย,คําประกอบหน้าคําบางคําเพื่อเน้นในเชิงบริภาษ เช่น อ้ายทึ่มอ้ายโง่ อ้ายควาย, คําใช้แทนสิ่งที่กล่าวถึงและเป็นที่เข้าใจกันเช่น อ้ายนั่น อ้ายนี่, เขียนเป็น ไอ้ ก็มี, (โบ) คํานําหน้าชื่อผู้ชายมักใช้ในทางไม่ดี เช่น อ้ายดีผู้ร้ายรับเปนสัจให้การซัดพวกเพื่อนถึงอ้ายเชด อ้ายแสน อ้ายคง อ้ายมั้น. (สามดวง).น. ขุนเพ็ด, ปลัดขิก ก็เรียก, เขียนเป็น ไอ้ขิก ก็มี.(ปาก) น. กระเจี๊ยว, เขียนเป็น ไอ้เจี๊ยว ก็มี.ดู จิ้งโกร่ง.ดู งั่ว ๒.น. ชื่อมดหลายชนิดในวงศ์ Formicidae ตัวสีดํา ขนาดไล่เลี่ยกับมดแดง อาศัยเป็นกลุ่มอยู่ตามต้นไม้ เช่น ต้นส้ม มักจะเลี้ยงเพลี้ยซึ่งอาจเป็นเพลี้ยแป้งหรือเพลี้ยหอย เมื่อถูกรบกวนมักรวมกลุ่มต่อยและกัด เช่น พวกที่อยู่ในสกุล Camponotus, Diacamma และPolyrachis, ชื่น ก็เรียก.[ยะตะ] ว. ยืด, แผ่ออกไป, กว้างขวาง, ยาว. (ป., ส.).[ยะตะนะ] น. เครื่องรู้และสิ่งที่รู้ เช่น ตาเป็นเครื่องรู้ รูปเป็นสิ่งที่รู้,ในพระพุทธศาสนาหมายถึง จักษุ โสต ฆาน ชิวหา กาย ใจ เรียกว่าอายตนะภายใน เป็นเครื่องติดต่อกับอายตนะภายนอก คือ รูป เสียงกลิ่น รส โผฏฐัพพะ ธรรมารมณ์. (ป., ส.).ดูใน กินสี่ถ้วย.[ยน] น. การมาถึง, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น เมษายน คือเมษ + อายน แปลว่า การมาถึงราศีเมษ. (ป., ส.).ดู บ้า ๒.ดู คางเบือน.ดู ชะโด.ดู ชาด.ดู ซิว.น. ชื่อจิ้งหรีดขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Gryllidae, จิ้งหรีดผีก็เรียก. (ดู แอ้ด ๑), โดยปริยายเรียกสิ่งที่มีขนาดเล็กหรือน้ำหนักน้อยกว่าปรกติ เช่น รถถังอ้ายแอ้ด มวยรุ่นอ้ายแอ้ด.(กฎ) ก. ห้ามจําหน่ายจ่ายโอนทรัพย์สินหรือสิทธิเรียกร้อง.ว. ขยัน, ขันแข็ง. (ป., ส. อายตฺต).
น. นักบวช, ฤษี. (จินดามณี).
น. การมาถึง, นิยมใช้เป็นส่วนท้ายของคำสมาส เช่น เหมายันหมายถึงการมาถึงฤดูหนาว ครีษมายัน หมายถึง การมาถึงฤดูร้อน, ทางดาราศาสตร์ หมายถึงจุดหยุด คือจุดสุดทางเหนือและทางใต้ที่ดวงอาทิตย์โคจรไปถึง. (อ. solstice).
[จะนะ] น. การขอร้อง, การวิงวอน, การเชื้อเชิญ. (ป.).
น. การมา, การมาถึง. (ป., ส.).
น. เวลาที่ดํารงชีวิตอยู่, เวลาชั่วชีวิต, ช่วงเวลานับตั้งแต่เกิดหรือมีมาจนถึงเวลาที่กล่าวถึง, ระยะเวลาที่กำหนดไว้ เช่น อายุใบอนุญาตยานี้หมดอายุแล้ว, ระยะเวลาที่กําหนดรู้ความยั่งยืนของสิ่งนั้น ๆ เช่น อายุของหิน. (ป.; ส. อายุสฺ หรือ อายุษฺ เมื่อนําหน้าบางคํา, แต่เมื่อนําหน้าอักษรตํ่ากับตัว ห เปลี่ยน สฺ เป็น รฺ เช่นอายุรเวท, แต่ถ้าใช้อย่างบาลีก็ไม่ต้องมี ส หรือ ร).
[กะไส] น. การสิ้นอายุ, ความตาย. (ส.; ป. อายุขย).
น. การสิ้นอายุ, ความตาย; อัตรากําหนดอายุจนสิ้นอายุ.(ป.; ส. อายุกฺษย).