อาทาน หมายถึง น. การถือเอา, การรับ, การยึดถือ, มักใช้เป็นส่วนท้ายศัพท์ เช่นอุปาทาน สมาทาน. (ป., ส.).
น. ต้น ในคําว่า เป็นอาทิ, เป็นเบื้องต้น, ทีแรก, ข้อต้น. (ป., ส.).
น. วันอาทิตย์, สูรยวาร หรือ อาทิตยวาร ก็ว่า.
[ทิดตะยะ, ทิด] น. 'เชื้ออทิติ' คือ เทวดาพวกหนึ่งซึ่งเป็นลูกนางอทิติผู้เป็นชายาพระกัศยปประชาบดี เทวดาพวกนี้มีจํานวนกล่าวไว้ต่างกัน บ้างว่ามี ๕ องค์ บ้างว่ามี ๗ องค์ บ้างว่ามี ๑๒ องค์ ได้แก่อินทราทิตย์ (พระอินทร์) วรุณาทิตย์ (พระพิรุณ) ฯลฯ สูรยาทิตย์(พระอาทิตย์ที่ส่องโลก); ชื่อเทวดาพระเคราะห์ คือ สูรยาทิตย์;ดวงตะวัน (ชื่อเทวดาองค์หนึ่งในนิยาย), ในตํารานพเคราะห์นับเอาเป็นดาวพระเคราะห์ที่ ๑; ชื่อวันที่ ๑ ของสัปดาห์; รอบ ๗ วันเช่น ไม่ว่างตลอดอาทิตย์. (ส.; ป. อาทิจฺจ).
[ทิดตะยะ, ทิด] น. 'เชื้ออทิติ' คือ เทวดาพวกหนึ่งซึ่งเป็นลูกนางอทิติผู้เป็นชายาพระกัศยปประชาบดี เทวดาพวกนี้มีจํานวนกล่าวไว้ต่างกัน บ้างว่ามี ๕ องค์ บ้างว่ามี ๗ องค์ บ้างว่ามี ๑๒ องค์ ได้แก่อินทราทิตย์ (พระอินทร์) วรุณาทิตย์ (พระพิรุณ) ฯลฯ สูรยาทิตย์(พระอาทิตย์ที่ส่องโลก); ชื่อเทวดาพระเคราะห์ คือ สูรยาทิตย์;ดวงตะวัน (ชื่อเทวดาองค์หนึ่งในนิยาย), ในตํารานพเคราะห์นับเอาเป็นดาวพระเคราะห์ที่ ๑; ชื่อวันที่ ๑ ของสัปดาห์; รอบ ๗ วันเช่น ไม่ว่างตลอดอาทิตย์. (ส.; ป. อาทิจฺจ).
น. ดวงอาทิตย์, รูปที่แลดูแบนแห่งดวงอาทิตย์.
น. วันอาทิตย์, สูรยวาร หรือ อาทิจจวาร ก็ว่า.
[นบ, นะวะ] น. โทษ (บางทีใช้ควบกันว่า อาทีนพโทษ หรืออาทีนวโทษ); ผลร้าย, บางทีใช้เป็นส่วนท้ายของคำสมาสเช่น กามาทีนพ = โทษของกาม. (ป., ส.).