สำนวด หมายถึง [สําหฺนวด] (กลอน) ก. สวด. (แผลงมาจาก สวด).
น. ถ้อยคําที่เรียบเรียง, โวหาร, บางทีก็ใช้ว่า สํานวนโวหารเช่น สารคดีเรื่องนี้สํานวนโวหารดี ความเรียงเรื่องนี้สํานวนโวหารลุ่ม ๆ ดอน ๆ; คดี เช่น ปิดสำนวน; ถ้อยคําหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่น แฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้ารําไม่ดีโทษปี่โทษกลอง, ถ้อยคําที่แสดงออกมาเป็นข้อความพิเศษ เฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ เช่น สํานวนฝรั่ง สํานวนบาลี,ชั้นเชิงหรือท่วงทํานองในการแต่งหนังสือหรือพูด เช่น สํานวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน) สํานวนยาขอบ สํานวนไม้ เมืองเดิม;ลักษณนามใช้เรียกข้อความหรือบทประพันธ์รายหนึ่ง ๆ เช่นอิเหนามีหลายสํานวน บทความ ๒ สํานวน.
(กฎ) น. บรรดาคําคู่ความและเอกสารหรือแผ่นกระดาษไม่ว่าอย่างใด ๆ ที่คู่ความหรือศาลหรือเจ้าพนักงานศาลได้ทําขึ้น ซึ่งประกอบเป็นสํานวนของคดี.
ก. รับผิดชอบ, ต้องรับใช้แทน. (แผลงมาจาก สนอง).
น. ที่อยู่อาศัย เช่น อยู่สำนักวัดมหาธาตุ, ที่ทําการ เช่นสํานักนายกรัฐมนตรี; แหล่งศึกษาอบรม เช่น สํานักวิปัสสนาวัดปากน้ำ สำนักทิศาปาโมกข์. ก. อยู่ เช่นเวลานี้สํานักที่ไหน. (โบ เขียนเป็น สํานักนิ).
น. สถานที่ทำการของรัฐวิสาหกิจ หรือบริษัทห้างร้านเป็นต้นเช่น สำนักงานสลากกินแบ่ง สำนักงานใหญ่ธนาคารออมสินสำนักงานทนายความ.
น. สถานที่ดำเนินธุรกิจจัดพิมพ์และจำหน่ายตำราหรือหนังสือสารคดี นวนิยาย เป็นต้น.
น. วัดที่ยังไม่ได้รับพระราชทานที่วิสุงคามสีมา.