สาธารณสถาน หมายถึง (กฎ) น. สถานที่ใด ๆ ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้.
น. ทรัพย์สินส่วนรวมของประชาชน เช่น ถนนสาธารณะ แม่นํ้าลําคลอง.
(กฎ) น. ทรัพย์สินทุกชนิดของแผ่นดินซึ่งใช้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือ สงวนไว้เพื่อประโยชน์ร่วมกัน เช่น ที่ดินรกร้างว่างเปล่า และที่ดินซึ่งมีผู้เวนคืนหรือทอดทิ้งหรือกลับมาเป็นของแผ่นดินโดยประการอื่นตามกฎหมายที่ดิน ทรัพย์สินสําหรับพลเมืองใช้ร่วมกันและทรัพย์สินใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินโดยเฉพาะ.
น. ชื่อกระทรวงที่มีอํานาจหน้าที่เกี่ยวกับการแพทย์ การสาธารณสุขการควบคุมอาหารและยา รวมทั้งสิ่งที่อาจเป็นพิษหรือเป็นภัยแก่สุขภาพ และควบคุมกิจการกาชาด; กิจการเกี่ยวกับการป้องกันการบําบัดโรค การรักษา และส่งเสริมสุขภาพของประชาชน.(อ. public health).
น. กิจการเกี่ยวกับการสงเคราะห์บุคคลที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้เช่น คนชรา คนพิการ เด็กกําพร้า. (อ. public assistance); การก่อสร้างและบูรณปฏิสังขรณ์ทางศาสนา เช่น งานด้านสาธารณูปการ.
น. บริการสาธารณะที่จัดทําเพื่ออํานวยประโยชน์แก่ประชาชนในสิ่งอุปโภคที่จําเป็นต่อการดําเนินชีวิต เช่น การไฟฟ้า การประปาการเดินรถประจําทาง โทรศัพท์. (อ. public utility).
[สาทาน] ว. ตํ่า, เลว; ชั่วช้า, เช่น ดังกากาจชาติช้าสาธารณ์ จะประมาณหมายหงส์พงศ์พระยา. (อิเหนา), บางทีใช้เข้าคู่กับคำชั่วช้า เป็น ชั่วช้าสาธารณ์; ทั่ว ๆ ไป เช่น ของสาธารณ์. (ป., ส. ว่าทั่วไป, สามัญ).
ดู สาธารณ–, สาธารณะ.