ค้นหาคำศัพท์แบบเร่งด่วน


 

  • ความหมายของคำว่า ' วรรณกรรม '

    วรรณกรรม  หมายถึง น. งานหนังสือ, งานประพันธ์, บทประพันธ์ทุกชนิดทั้งที่เป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง, เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ วรรณกรรมฝรั่งเศสวรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน; (กฎ) งานนิพนธ์ที่ทำขึ้นทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร สิ่งเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนาคำปราศรัยสุนทรพจน์ และหมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย.

advertisement

 

คำที่ใกล้เคียงกัน

  • วรรณคดี

    น. วรรณกรรมที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดีมีคุณค่าเชิงวรรณศิลป์ถึงขนาด เช่น พระราชพิธีสิบสองเดือน มัทนะพาธาสามก๊ก เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน.

  • วรรณยุกต์, วรรณยุต

    น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทยมี ๕ เสียงคือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวามีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูปคือ ? (ไม้เอก) ? (ไม้โท) ? (ไม้ตรี) ? (ไม้จัตวา).

  • วรรณยุกต์, วรรณยุต

    น. ระดับเสียงสูงต่ำของคำในภาษาไทยมี ๕ เสียงคือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวามีรูปเครื่องหมายบอกระดับของเสียงอยู่เบื้องบนอักษร ๔ รูปคือ ? (ไม้เอก) ? (ไม้โท) ? (ไม้ตรี) ? (ไม้จัตวา).

  • วรรณศิลป์

    น. ศิลปะในการประพันธ์หนังสือ เช่น ลิลิตพระลอเป็นวรรณคดีที่มีวรรณศิลป์สูงส่ง, ศิลปะทางวรรณกรรม เช่นนักวรรณศิลป์; วรรณกรรมที่ถึงขั้นเป็นวรรณคดี, หนังสือที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี.

  • วรรณนา

    [วันนะ] น. พรรณนา, การกล่าวถ้อยคําให้ผู้ฟังนึกเห็นเป็นภาพ.(ส. วรฺณนา; ป. วณฺณนา).

  • วรรณพฤติ

    [วันนะพรึด] น. ฉันท์ที่กําหนดด้วยอักษรตามอักขรวิธีเป็นเสียงหนักเบาที่เรียกว่า ครุ ลหุ เป็นสำคัญ.

  • วรรณึก

    น. ผู้เขียน, ผู้ประพันธ์; เลขานุการ. (ส. วรฺณิก).

 


พจนานุกรมไทย-ไทย ออนไลน์

จุดประสงค์ของเว็บ เพื่อสนับสนุนการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามความหมายของแต่ละคำ ขอบคุณข้อมูลจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒