รากศัพท์ หมายถึง น. รากเดิมของคำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตเป็นต้นเรียกว่า ธาตุเช่น กรรมการ มีรากศัพท์มาจาก กรฺ ธาตุ.
น. ต้นเหตุ เช่น โลภ โกรธ หลง เป็นรากเหง้าของความชั่วทั้งปวง; เหง้า, ลำต้นที่อยู่ในดินของพืชบางชนิด เช่น กล้วย บอน ขิง ข่า.
น. รากที่แตกออกจากต้นหรือกิ่งของพืชบางชนิด เช่นกล้วยไม้ ไทร.
ก. อาเจียน, อ้วก, สํารอกออกทางปาก. น. อาการที่สํารอกออกมาทางปาก.
ก. อาเจียนเป็นเลือด.
น. ชื่อปลาน้ำจืดชนิด Gyrinocheilus aymoneri และชนิด G. pennockiในวงศ์ Gyrinocheilidae มีหัวยาว ลำตัวยาวเพรียว ที่สำคัญคือมีปากซึ่งใช้ดูดเกาะติดกับวัตถุใต้น้ำได้ดีไม่มีหนวด พื้นลำตัวสีน้ำตาลคล้ำ ข้างตัวมีจุดดำเรียงสลับกันตามยาวอยู่ ๒ แถว พบทั่วไปตามลำธารบนภูเขาและที่ลุ่ม กินสาหร่ายและพืชน้ำอื่น ๆ ขนาดยาวได้ถึง ๒๘ เซนติเมตร,ผึ้ง น้ำผึ้ง ลูกผึ้ง หรือ สร้อยน้ำผึ้ง ก็เรียก.
[รากสด] น. ยักษ์ร้าย, ผีเสื้อนํ้า, ชื่อพวกอสูรชั้นต่ำ มีนิสัยดุร้าย ในคัมภีร์โลกทีปกสารว่า เป็นบริวารของพญายม, ในคัมภีร์โลกบัญญัติว่า เป็นบริวารของพระวรุณ, ใช้ รากโษส ก็มี. (ส.; ป. รกฺขส).
น. รากษส.