พฤติกรรม หมายถึง น. การกระทําหรืออาการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิดและความรู้สึก เพื่อตอบสนองสิ่งเร้า.
น. เหตุการณ์ที่เป็นมาหรือที่จะเป็นไป, ความเป็นไปในเวลากระทำการ เช่น พฤติการณ์ของเขาแสดงว่ามีเมตตากรุณาพฤติการณ์ของเขาแสดงถึงความทารุณโหดร้าย.
(กฎ) น. ความหมายตามข้อเท็จจริง (ล. de facto), ต่างกับ นิตินัยคือ ความหมายตามกฎหมาย (ล. de jure).
[พฺรึด] น. ผู้ใหญ่. ว. เจริญ, แข็งแรง, ใหญ่; แก่, เฒ่า, (ตรงข้ามกับยุว); ฉลาด, ชํานาญ; เจนจบ, พฤฒ ก็ใช้. (ส. วฺฤทฺธ).
[พฺรึด] น. ความเจริญ, ความมั่งคั่ง, ความสมบูรณ์, ความอวบ, พฤฒิก็ใช้; ในไวยากรณ์หมายถึงเสียงยาวที่สุดของสระต่าง ๆ คือ ในบาลีและสันสกฤตได้แก่ อา เป็นพฤทธิ์ของ อะ เป็นต้น. ก. กระทําสระให้ยาวเช่นนั้น. (ส. วฺฤทฺธิ).
[พฺรึน] น. ก้าน, ขั้ว. (ส. วฺฤนฺต; ป. วณฺฏ).
[พฺรึน ถ้าสัมผัสกับ อิ อ่านเป็น พฺริน] น. กอง, หมู่, จํานวนมาก.(ส. วฺฤนฺท); สังขยาจํานวนสูงเท่ากับโกฏิยกกําลัง ๗ หรือ ๑ มีศูนย์๔๙ ตัว. (ส. วฺฤนฺท; ป. พินฺทุ).
[พฺรึพูสะนะ] น. วิภูษณะ.