ประคิ่น, ประคิ่นวินชา หมายถึง ก. ประจง, ค่อย ๆ ทําให้เรียบร้อย, ประคอง.
ก. ประจง, ค่อย ๆ ทําให้เรียบร้อย, ประคอง.
(แบบ) ก. คล่องแคล่ว, ชํานาญ. (ส. ปฺรคุณ ว่า ตรง, สัตย์ซื่อ,ซื่อตรง; ป. ปคุณ).
ก. ถวายของพระโดยวิธียกส่งให้ตามพิธีการที่กําหนดไว้ เช่นประเคนอาหาร; ส่งให้ถึงมือ (ใช้ในความแดกดัน) เช่น ต้องเอาไปประเคนให้จนถึงที่; (ปาก) ตี เช่น ประเคนกระบาล ๓ ที.
(แบบ) น. ความเพียรที่แก่กล้า; การยกย่อง, การเชิดชู, ตรงข้ามกับนิเคราะห์ ซึ่งแปลว่า การกําราบ, การลงโทษ, การข่มขี่. ก. ยกย่อง,ประคับประคอง. (ส. ปฺรคฺรห; ป. ปคฺคห).
น. เรียกเสาใหญ่ที่ปักหมายเขตแดนระหว่างประเทศหรือเมืองเป็นต้นว่า เสาประโคน.
น. สายรัดจากใต้สัปคับไปที่อกช้าง หลังขาหน้า แล้วลอดมาบรรจบกันโยงใต้ท้องช้างและหน้าขาหน้าไปจากสายชนักที่คอช้าง, (กลอน)กระคน ก็ว่า.
[ปฺระโคนทับ, ปฺระโคนทัน] น. หัวหน้าคนธรรพ์ผู้เป็นเจ้าแห่งการดนตรี ถือว่าเป็นครูปี่พาทย์, เขียนเป็น ประคนธรรพ หรือประคนธรรพ์ ก็มี.