บังคับลหุ หมายถึง น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์ที่มีเสียงเบาคือ พยางค์ที่ประกอบด้วยสระเสียงสั้นที่ไม่มีตัวสะกด เช่น จะ ติแพะ.
น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้คําคล้องจองกันมีหลายชนิด คือ สัมผัสนอก สัมผัสใน สัมผัสสระ สัมผัสอักษร.
น. กฎเกณฑ์ของการประพันธ์ที่บัญญัติให้ใช้พยางค์หรือคําที่มีรูปวรรณยุกต์เอก และบรรดาคําตายทั้งสิ้นในโคลงและร่ายใช้แทนเอกได้.
ก. เฝ้า. (ข.).
[-แซก] น. เครื่องสูงอย่างหนึ่งสําหรับใช้ในริ้วขบวนพิธีแห่, คู่กับทานตะวัน อยู่ระหว่างฉัตร.(รูปภาพ บังแทรก)
ก. เสื่อมเสีย, เสียหาย, เช่น ทํากลบังวาย. (สามดวง), บังวายสวาท.(กฤษณา).
ก. หมุนรอบ, เวียนรอบ.
น. เรียกผ้าที่พระภิกษุชักจากศพ หรือที่ทอดไว้หน้าศพ หรือที่ทอดบนด้ายสายสิญจน์หรือผ้าภูษาโยงที่ต่อจากศพด้วยการปลงกรรมฐานว่าผ้าบังสุกุล, เรียกกิริยาที่พระภิกษุชักผ้าเช่นนั้นว่า ชักบังสุกุล, (ปาก)บังสกุล ก็ว่า. (ป. ปํสุกูล ว่า ฝั่งแห่งฝุ่น, กองฝุ่น, คลุกฝุ่น; ส. ปําสุกูล).