ธรรมาภิสมัย หมายถึง [ทํามา] น. การตรัสรู้ธรรม, การสําเร็จมรรคผล. (ส.; ป. ธมฺมาภิสมย).
[ทํามายะตะนะ] น. แดนคือธรรมารมณ์, แดนแห่งมนัสคือใจได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้. (ป. ธมฺมายตน).
[ทํามา] น. อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ. (ป. ธมฺมารมฺมณ).
[ทํามาด] น. ที่สําหรับพระภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม. (ส.).
[ทํามิก, ทํามิกกะ] ว. ประกอบในธรรม, ประพฤติเป็นธรรม, ทรงธรรม,เช่น ธรรมิกราช สหธรรมิก. (ส.; ป. ธมฺมิก).
[ทํามิก, ทํามิกกะ] ว. ประกอบในธรรม, ประพฤติเป็นธรรม, ทรงธรรม,เช่น ธรรมิกราช สหธรรมิก. (ส.; ป. ธมฺมิก).
คําประกอบท้ายคําที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไปจากคําศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม.
น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ตํ่ากว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่าชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์.