ค้นหาคำศัพท์แบบเร่งด่วน


 

  • ความหมายของคำว่า ' ธรรมานุธรรมปฏิบัติ '

    ธรรมานุธรรมปฏิบัติ  หมายถึง [ทํามา] น. การประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม, การประพฤติความดีสมควรแก่ฐานะ.

advertisement

 

คำที่ใกล้เคียงกัน

  • ธรรมานุสาร

    [ทํามา] น. ความถูกตามธรรม, ทางหรือวิธีแห่งความยุติธรรม,ความระลึกตามธรรม. (ส.; ป. ธมฺมานุสาร).

  • ธรรมาภิมุข

    [ทํามา] ว. หันหน้าเฉพาะธรรม, มุ่งแต่ยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมาภิมุข).

  • ธรรมาภิสมัย

    [ทํามา] น. การตรัสรู้ธรรม, การสําเร็จมรรคผล. (ส.; ป. ธมฺมาภิสมย).

  • ธรรมายตนะ

    [ทํามายะตะนะ] น. แดนคือธรรมารมณ์, แดนแห่งมนัสคือใจได้แก่อารมณ์ที่ใจรู้ หรือเรื่องที่ใจรู้. (ป. ธมฺมายตน).

  • ธรรมารมณ์

    [ทํามา] น. อารมณ์ที่ใจรู้, อารมณ์ที่เกิดทางใจ. (ป. ธมฺมารมฺมณ).

  • ธรรมาสน์

    [ทํามาด] น. ที่สําหรับพระภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม. (ส.).

  • ธรรมิก, ธรรมิก

    [ทํามิก, ทํามิกกะ] ว. ประกอบในธรรม, ประพฤติเป็นธรรม, ทรงธรรม,เช่น ธรรมิกราช สหธรรมิก. (ส.; ป. ธมฺมิก).

 


พจนานุกรมไทย-ไทย ออนไลน์

จุดประสงค์ของเว็บ เพื่อสนับสนุนการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามความหมายของแต่ละคำ ขอบคุณข้อมูลจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒