ทีหลัง หมายถึง น. ภายหลัง, หลังจากนั้น, ทีหน้าทีหลัง ก็ว่า.
น. ท่าทาง, ชั้นเชิง, โอกาส, เช่น ท่าดีแต่ทีเหลว ได้ทีเสียที.
น. ชั้นเชิงที่สามารถเอาชนะอีกฝ่ายหนึ่งได้อย่างเด็ดขาด.
น. ความเป็นไปของสถานการณ์หรือบุคคลเป็นต้น, ท่าที ก็ว่า.
(สํา) ก. แสร้งทําเล่น ๆ หรือล้อหลอกเป็นการลองเชิงแต่เมื่อเห็นเขาเผลอตัวหรือไม่ว่าก็เอาจริง, เล่นก็ได้ จริงก็ได้.
น. แหล่ง, ถิ่น, เช่น ที่ประกอบอาชีพ ที่ทํามาหากิน, สถานที่ เช่นที่ประชุม ที่พัก, ตําแหน่งที่ เช่น เอาแว่นวางไว้ที่โต๊ะ; ที่ดิน เช่นซื้อที่ ขายที่ เช่าที่; ภาชนะ, เครื่องใช้, เช่น ที่บูชา ที่นอน ที่เขี่ยบุหรี่;ลักษณนามบอกสถานที่หรือสิ่งของเป็นชุด ๆ เป็นต้น เช่น ที่นั่ง ๓ที่อาหาร ๓ ที่. ส. คําใช้แทนคํานามหรือข้อความที่อยู่ข้างหน้าเช่น คนที่ขยัน เด็กที่ฉลาด. ว. คํานําหน้าสังขยาบอกลําดับ เช่นที่ ๑ ที่ ๒. บ. ใน, ณ, เช่น อยู่ที่บ้าน.
(กฎ) น. ที่ซึ่งมีผู้อุทิศแต่ผลประโยชน์ให้วัดหรือพระศาสนา.
ว. จริง, แท้, แน่นอน. สัน. คําขึ้นต้นประโยคหรือข้อความแสดงถึงความที่ถูกที่ควร, อันที่จริง หรือ ตามที่จริง ก็ว่า.