ค้นหาคำศัพท์แบบเร่งด่วน


 

  • ความหมายของคำว่า ' ตระสัก '

    ตระสัก  หมายถึง [ตฺระ-] (กลอน) ว. งามสง่า; ไพเราะ.

advertisement

 

คำที่ใกล้เคียงกัน

  • ตระหง่อง, ตระหน่อง

    [ตฺระ-] (โบ; กลอน) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา.(ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล. (ม. คําหลวง กุมาร),กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.

  • ตระหง่อง, ตระหน่อง

    [ตฺระ-] (โบ; กลอน) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา.(ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล. (ม. คําหลวง กุมาร),กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.

  • ตระหง่าน

    [ตฺระหฺง่าน] ว. สูงเด่นเป็นสง่า.

  • ตระหนก

    [ตฺระหฺนก] ก. หวาด, ผวา, สะดุ้ง, ตกใจ.

  • ตระหนัก

    [ตฺระหฺนัก] ก. รู้ประจักษ์ชัด, รู้ชัดแจ้ง.

  • ตระหน่ำ

    [ตฺระหฺนํ่า] (กลอน) ก. กระหนํ่า.

  • ตระหนี่

    [ตฺระหฺนี่] ว. หวงไม่อยากให้ง่าย ๆ เช่น ตระหนี่ทรัพย์ ตระหนี่ความรู้.

 


พจนานุกรมไทย-ไทย ออนไลน์

จุดประสงค์ของเว็บ เพื่อสนับสนุนการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามความหมายของแต่ละคำ ขอบคุณข้อมูลจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒