ตระวัน หมายถึง [ตฺระ-] (กลอน) น. ตะวัน, ดวงอาทิตย์.
[ตฺระเหฺว็ด] น. รูปเทพารักษ์ที่ประดิษฐานไว้ในศาลพระภูมิหรือศาลเจ้า,ใช้ว่า เจว็ด หรือ เตว็ด ก็มี.
[ตฺระ-] ก. ไปทั่ว ๆ รอบบริเวณ เช่น ตระเวนป่า พาตระเวนไปทั้งวัน, เที่ยวตรวจตรา เช่น พลตระเวน, พาไปทั่ว ๆ เพื่อประจาน ในความว่า นํานักโทษตระเวนไปทั่วเมือง, ใช้ว่า กระเวน ตะเวน หรือ ทะเวน ก็มี.
น. วิธีรำละครท่าหนึ่ง อยู่ในอันดับว่า สารถีชักรถ กลดพระสุเมรุตระเวนเวหา. (ฟ้อน).
ดู ระวังไพร, ระวังวัน.
ดู ระวังไพร, ระวังวัน.
[ตฺระ-] (กลอน) ว. งามสง่า; ไพเราะ.
[ตฺระ-] (โบ; กลอน) ก. จ้อง, คอยดู, เช่น ตาเรียมตระหง่องตั้ง ตาเรือ แม่ฮา.(ทวาทศมาส), เขียนเป็น ตรง่อง ก็มี เช่น อันว่าพระมหาสัตวก็ต้งงตาแลตรง่อง ซึ่งช้นนช่องมรรคา ที่มีผู้จะมาน้นน โสดแล. (ม. คําหลวง กุมาร),กระหง่อง หรือ กระหน่อง ก็ใช้.