ค้นหาคำศัพท์แบบเร่งด่วน


 

  • ความหมายของคำว่า ' ตระกัด '

    ตระกัด  หมายถึง [ตฺระ-] (โบ) ก. ใคร่, อยาก, ยินดี, เช่น พ่อเอ๋ย ใช่ตั้งใจแก่ความกําหนัดในความตระกัดกรีธา. (ม. คําหลวง กุมาร), กระกัด ก็ว่า.

advertisement

 

คำที่ใกล้เคียงกัน

  • ตระการ

    [ตฺระ-] ว. งาม; ประหลาด, แปลก ๆ; หลาก, มีต่าง ๆ.

  • ตระกูล

    [ตฺระ-] น. สกุล, วงศ์, เชื้อสาย, เผ่าพันธุ์.

  • ตระกูลมูลชาติ

    [-มูนชาด] (สํา) น. ตระกูลผู้ดี เช่น หญิงมีตระกูลมูลชาติ ถ้าแม้ขาดขันหมากก็ขายหน้า. (ท้าวแสนปม), สกุลรุนชาติ ก็ว่า.

  • ตระคัร

    [ตฺระคัน] (แบบ) น. ไม้กฤษณา เช่น กฤษณาขาวและตระคัร ก็มี.(ม. คําหลวง มหาพน). (ป.; ส. ตคร).

  • ตระง่อง

    [ตฺระ-] ก. จ้อง, คอยดู, (โบ) ในบทร้อยกรองใช้ว่า กระหง่อง กระหน่องตระหง่อง หรือ ตระหน่อง ก็มี.

  • ตระจัก

    [ตฺระ-] ว. ตระชัก, เย็น. (ข. ตรฺชาก่).

  • ตระชัก

    [ตฺระ-] ว. เย็น, บางทีใช้ ตระจัก ตามเสียงเขมร. (ข. ตฺรชาก่).

 


พจนานุกรมไทย-ไทย ออนไลน์

จุดประสงค์ของเว็บ เพื่อสนับสนุนการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามความหมายของแต่ละคำ ขอบคุณข้อมูลจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒