ติ้วใบเลื่อม หมายถึง ดู ติ้ว ๑.
ก. เอามือหรือไม้เป็นต้นฟาดหรือเข่นลงไป เช่น ตีเด็กตีดาบ, ตบเบา ๆ เช่น นอนตีพุง; บุให้เข้ารูป เช่น ตีขันตีบาตร; แผ่ให้แบน เช่น ตีทอง; ทําให้เกิดเสียง เช่น ตีระฆัง; กด, ประทับ, เช่น ตีพิมพ์ ตีตรา; ทําให้เข้ากันเช่น ตีเกลียวเชือก ตีไข่; กําหนด เช่น ตีราคา; ทิ้งให้เห็น เช่น ตีไพ่; ชักว่าวให้ไปในทิศทางที่ตนต้องการเช่น ตีว่าวไปทางซ้าย ตีว่าวหนี ตีว่าวแยกกัน. น. วิธีนับเวลาตามประเพณีในเวลากลางคืน หลังเที่ยงคืนตั้งแต่ ๑ นาฬิกา ถึง ๖ นาฬิกา เรียกว่า ตี ๑ ถึง ตี ๖,แต่ตี ๖ นิยมเรียกว่า ยํ่ารุ่ง.
[–กัน–] ก. อาการที่นั่งหันหน้าไปทางท้ายเรือแล้วใช้มือเหนี่ยวกรรเชียงพุ้ยนํ้าให้เรือแล่นไป, เรียกท่าว่ายนํ้าโดยนอนหงายแล้วใช้แขนทั้ง ๒ พุ้ยนํ้าให้ตัวเลื่อนไป, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้นเช่น ชกแบบตีกรรเชียง, ตีกระเชียง ก็ว่า.
ก. ย้อนกลับคืนผู้ส่ง (ใช้แก่หนังสือหรือจดหมาย) เช่นหนังสือถูกตีกลับ จดหมายถูกตีกลับเพราะหาผู้รับไม่ได้.
ก. ทําเสียงประกอบเพลงอย่างหนึ่ง. (รามเกียรติ์ ร. ๒).
ก. ฉวยโอกาสเอาประโยชน์ที่ไม่ควรจะได้.
ก. ทบผ้า ๒ ชั้นแล้วเย็บเป็นแนว เพื่อการตกแต่ง;ตีฝาซ้อนเหลื่อมกันตามแนวนอน.
ก. หมุนบิดให้เชือกเขม็งขึ้น.