ตาหนู ๒ หมายถึง ลักษณะของสิ่งของที่อยู่ภายในแพลมออกมาข้างนอกแต่เล็กน้อย.
[–หฺลิ่ง] (กลอน) น. ตลิ่ง.
ดูใน ตา ๒.
ดู ตาพอง ๓.
(กลอน) น. เฉลว เช่น ตาหลิ่งตาเหลวปัก ปิดไว้.(นิ. นรินทร์).
ดูใน ตา ๒.
น. ชื่อปลาที่มีตาโตคลุมด้วยเยื่อใส เกล็ดเรียบหลายชนิด หลายสกุล ที่เป็นปลาทะเลหรือนํ้ากร่อย ได้แก่ทุกชนิดในสกุล Ilisha วงศ์ Clupeidaeลําตัวยาวเรียว แบนข้าง ท้องเป็นสันแหลม เกล็ดที่สันท้องเป็นเหลี่ยมคมเรียงต่อกันคล้ายฟันเลื่อย,อีปุด หรือ ปุด ก็เรียก; ที่เป็นปลานํ้ากร่อยแต่อยู่ได้ในนํ้าจืดได้แก่ ตาเหลือกนํ้าจืด หรือ ข้าวเหนียวบูด(Megalops cyprinoides) ในวงศ์ Megalopidaeและ ตาเหลือกยาว (Elops saurus) ในวงศ์Elopidae, ทั้ง ๒ ชนิดนี้มีรูปร่างคล้ายกัน ปากกว้างที่ใต้คางระหว่างกระดูกขากรรไกรล่างมีแผ่นกระดูกแข็ง ๑ ชิ้น สําหรับชนิดแรกตัวป้อมกว่า และมีก้านครีบหลังอันสุดท้ายยื่นยาวเป็นเส้น; ส่วนที่เป็นปลานํ้าจืดได้แก่ ตามิน (Amblyrhynchichthys truncatus).(ดู ตามิน).
(แบบ) น. ลูกกุญแจ, กลอนประตู, ลูกดาล. (ป., ส.).