ขอม ๑ หมายถึง น. เขมรโบราณ.
ก. ชื่อเพลงไทยจําพวกหนึ่ง มีชื่อต้นด้วยคําว่า ขอม เช่น ขอมใหญ่ขอมเงิน ขอมทรงเครื่อง.
น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมถึงขนาดกลางชนิด Streblus asper Lour.ในวงศ์ Moraceae มักขึ้นตามป่าตํ่าและริมแม่นํ้าลําคลอง ใบเล็กสากคาย ใช้ขัดถูได้ เปลือกใช้ทํากระดาษ เรียกว่า กระดาษข่อย ใบเปลือก เนื้อไม้และเมล็ดใช้ทํายาได้.
น. ชื่อไม้ต้นขนาดย่อมชนิด Streblus taxoides (Heyne) Kurzในวงศ์ Moraceae ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ลําต้นและกิ่งก้านมักงอหักไปมา ใบเกลี้ยง ไม่สากคาย, ข่อยหยอง ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก ขี้แรด.
น. ชื่อไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Streblus ilicifolius (Vidal) Cornerในวงศ์ Moraceae มักขึ้นบนเขาหินปูนในป่าดิบ ลําต้นตรงใบแข็งหนา ด้านบนเขียวแก่เป็นมัน ขอบใบเป็นหนามแหลมคม,ปักษ์ใต้เรียก กระชิด.
(ถิ่น-พายัพ, อีสาน) ส. คําใช้แทนตัวผู้พูด, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑. น. ข้า, บ่าว, เช่น เมื่อให้สูสองราชเป็นข้อยขาดแก่พราหมณ์.(ม. คําหลวง กุมาร).
ดู ข่อยนํ้า ที่ ข่อย.
(โบ; กลอน) ว. คลํ้า, มืดมัว, เขียนเป็น ขข่ำ ก็มี เช่น ฟ้าแมลบมล่นนร้อง ท้องฟ้าเขียวขขํ่า ยงงฝนพพร่ำพรอยพรำ อื้ออึงอัมพรระงม ด้วยกำลงงลมพายุพัดน้นน. (ม. คําหลวง ฉกษัตริย์).