ค้นหาคำศัพท์แบบเร่งด่วน


 

  • ความหมายของคำว่า ' ชันนุ, ชันนุกะ '

    ชันนุ, ชันนุกะ   หมายถึง (แบบ) น. เข่า. (ป., ส. ชานุ). (ดู ชานุ, ชานุกะ).

advertisement

 

คำที่ใกล้เคียงกัน

  • ชันโรง

    [ชันนะ] น. ชื่อผึ้งขนาดเล็กหลายชนิดในวงศ์ Apidae เช่น ชนิด Trigona terminata, Melipona apicalis โดยทั่วไปมีขนาดลําตัวยาวไม่เกิน ๑๐ มิลลิเมตร อกกว้างไม่เกิน ๒.๕ มิลลิเมตร อยู่รวมกันเป็นฝูงและแบ่งวรรณะเป็นผึ้งผู้ ผึ้งเมีย และผึ้งงานเหมือนกัน แต่ผึ้งงานไม่มีเหล็กในเหมือนผึ้งธรรมดา รังทําจากขี้ผึ้งผสมขี้ดินและยางไม้ขนาดหอยโข่ง หรือตะโหงกวัว จึงมักจะเรียกผึ้งหอยโข่งหรือผึ้งตะโหงกวัวแต่มีชื่ออื่นอีกมากมายแตกต่างไปตามท้องถิ่น เช่น หูด ขี้ตังนี หรือ กินชัน, อีสานเรียก ขี้สูด.

  • ชันษา

    [ชันนะสา] น. อายุ. (ย่อมาจาก ชนมพรรษา).

  • ชันสูตร

    [ชันนะสูด] ก. ตรวจสอบเพื่อหาสาเหตุหรือหลักฐานข้อเท็จจริง เช่น ชันสูตรบาดแผล ชันสูตรพลิกศพ, สอบสวนโดยเหตุผล.

  • ชันสูตรพลิกศพ

    (กฎ) ก. ตรวจพิสูจน์ศพเพื่อให้ทราบว่า ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด สาเหตุและพฤติการณ์ที่ตาย.

  • ชัปนะ

    [ชับปะนะ] (แบบ) น. การพูดพึมพำ, การสวดมนต์พึมพำ. (ป., ส. ชปน).

  • ชัพ

    [ชับ] (แบบ) ว. เร็ว. (ป., ส. ชว).

  • ชัมพูนท

    [ชําพูนด] น. ทองคําเนื้อบริสุทธิ์ (ในคัมภีร์ไตรภูมิกล่าวว่า เกิดใต้ต้นหว้า), ชมพูนท ชมพูนุท หรือ ชามพูนท ก็ว่า. (ป.; ส. ชามฺพูนท).

 


พจนานุกรมไทย-ไทย ออนไลน์

จุดประสงค์ของเว็บ เพื่อสนับสนุนการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องตามความหมายของแต่ละคำ ขอบคุณข้อมูลจาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒